นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน” จรวดสเปซเอ็กซ์ “ชนดวงจันทร์” เดือนมีนาคมนี้

Home » นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน” จรวดสเปซเอ็กซ์ “ชนดวงจันทร์” เดือนมีนาคมนี้


นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน” จรวดสเปซเอ็กซ์ “ชนดวงจันทร์” เดือนมีนาคมนี้

นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน” จรวดสเปซเอ็กซ์ “ชนดวงจันทร์” เดือนมีนาคมนี้

นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน” – วันที่ 27 ม.ค. เอเอฟพี รายงานว่า นายบิล เกรย์ นักดาราศาสตร์ผู้พัฒนา โปรเจกต์พลูโต ซอฟต์แวร์คำนวณวิถีโคจรของวัตถุในอวกาศซึ่งถูกใช้งานอย่างแพร่หลายในโครงการสังเกตการณ์อวกาศที่ได้รับการสนับสนุนจาก องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (นาซา)

นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน”

Launch of Falcon 9 carrying DSCOVR – The rocket was deployed in 2015 to put into orbit a NASA satellite called the DSCOVR. Since then, the second stage of the rocket, or booster, has been floating in what mathematicians call a chaotic orbit, astronomer Bill Gray told AFP. /Wikipedia/

เปิดเผยว่าชิ้นส่วนจรวดบูสเตอร์ของจรวดฟัลคอน 9 พาหนะขนส่งทางอวกาศสร้างโดยสเปซเอ็กซ์ซึ่งระเบิดออกระหว่างปฏิบัติภารกิจนำดาวเทียมดีพสเปซ ไคลเมต ออบเซอร์วาทอรี (DSCOVR) ของนาซาขึ้นสู่วงโคจรเพื่อถ่ายภาพดวงจันทร์ รวมถึงภาพด้านหลังของดวงจันทร์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากพื้นโลก เมื่อปี 2558

มีแนวโน้มจะพุ่งชนดวงจันทร์ในวันที่ 4 มี.ค.2565 ที่ความเร็วกว่า 9,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยนายเกรย์เรียกร้องให้บรรดานักดาราศาสตร์ร่วมสังเกตการณ์ขยะจรวดบูสเตอร์ของจรวดฟัลคอน 9 เพื่อยืนยันการคำนวณวิถีโคจรดังกล่าว

นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน”

A file photo of a Falcon 9 booster landing on re-entry. The booster passed quite close to the Moon in January in a rendezvous that altered its orbit, said astronomer Bill Gray. He is behind Project Pluto, software that allows for calculating the trajectory of asteroids and other objects in space and is used in NASA-financed space observation programs. SpaceX

นักดาราศาสต์คาด “ขยะขิ้นส่วน”

This image shows the far side of the moon, illuminated by the sun, as it crosses between the DSCOVR spacecraft’s Earth Polychromatic Imaging Camera (EPIC) camera and telescope, and the Earth – one million miles away. A week after the rocket stage whizzed close to the Moon, Gray observed it again and concluded it would crash into the Moon’s dark side on March 4 at more than 5,500 miles per hour (9,000 kilometers per hour). Credits: NASA/NOAA

 

ข่าวที่เกี่ยวข้อง:

  • พรุ่งนี้หลังอาทิตย์ลับขอบฟ้า ดูดวงจันทร์ไกลโลกที่สุดในรอบปี “ไมโครฟูลมูน”
  • อวกาศ: ทำไมหลายประเทศจึงมีภารกิจเดินทางไปดวงจันทร์ในปีนี้

แท็กที่เกี่ยวข้อง

เรื่องอื่นที่น่าสนใจ