ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง” ขึ้นสู่วงโคจรสำเร็จ-หลังล่าช้าเพราะคลื่นหนาวถล่ม

Home » ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง” ขึ้นสู่วงโคจรสำเร็จ-หลังล่าช้าเพราะคลื่นหนาวถล่ม



ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง” ขึ้นสู่วงโคจรสำเร็จ-หลังล่าช้าเพราะคลื่นหนาวถล่ม

ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง” – ซินหัวและ นาซาสเปซไฟล์ต รายงานว่าญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการปล่อยจรวดขนส่งดาวเทียมเรดาร์รวบรวมข่าวกรองออกจากศูนย์อวกาศทาเนงาชิมะ ในจังหวัดคาโงชิมะ ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ

รายงานระบุว่า บริษัท มิตซูบิชิ เฮฟวี อินดัสทรีส์ จำกัด ผู้รับผิดชอบการปล่อยจรวดเอช 2 เอ หมายเลข 46 ระบุว่าจรวดดังกล่าวซึ่งบรรทุกดาวเทียมเรดาร์รวบรวมข่าวกรองชื่อว่า “ไอจีเอส-เรดาร์ 7” (IGS-Radar 7) ทะยานออกจากศูนย์อวกาศ เมื่อเวลา 10.50 น. ของวันพฤหัสบดีที่ 26 ม.ค. ตามเวลาท้องถิ่น

ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง”

The Japan Aerospace Exploration Agency (JAXA) and Mitsubishi Industries have conducted the nation’s first orbital flight of 2023. The mission saw an H-IIA rocket carry the classified IGS-7 radar reconnaissance satellite into a Sun-synchronous orbit.

ด้านศูนย์ข่าวกรองดาวเทียมของรัฐบาลญี่ปุ่น เผยว่าดาวเทียมเรดาร์ดาวนี้มีระบบติดตามด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สามารถจับภาพบนพื้นผิวโลกในเวลากลางคืนและช่วงที่มีสภาพอากาศรุนแรงได้

ทั้งนี้ ดาวเทียมดวงดังกล่าวเข้าสู่วงโคจรที่กำหนดหลังถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศราว 20 นาที และจะเข้าแทนที่ดาวเทียมไอจีเอส 5 (IGS 5) ทั้งนี้ การปล่อยจรวดข้างต้นล่าช้าไป 1 วัน เนื่องจากสภาพอากาศเลวร้ายหลังมีคลื่นความหนาวเย็นพัดเข้าสู่ญี่ปุ่น

ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง”

Liftoff occurred on Thursday, Jan. 26, 2023, at 01:49:20 UTC from Launch Area Y1 at the Tanegashima Space Center in southern Japan. The launch window lasted just 61 seconds, closing at 01:50:21 UTC. The mission is the first of several planned orbital launches for Japan in 2023; however, that flight rate hinges not just on payload availability but on the successful introduction of the H3 rocket, currently slated for no earlier than February 12, 2023.

ญี่ปุ่นปล่อย “ดาวเทียมข่าวกรอง”

The payload for this classified H-IIA mission was the IGS (Intelligence Gathering Satellite) 7 spacecraft for the Japanese government’s Cabinet Satellite Information Center.

ขึ้นสู่วงโคจรสำเร็จ-หลังล่าช้าเพราะคลื่นหนาวถล่ม

Rendering of the H3 rocket in flight, sporting 4 SRB-3 boosters in its H3-24L configuration. (Credit: Mack Crawford for NSF/L2)

 

ข่าวที่เกี่ยวข้อง:

  • นับถอยหลังดาวเคราะห์น้อยหวิดชนโลก! ผงะเพิ่งพบ-ส่อเฉียดใกล้กว่าดาวเทียม
  • ดาวเทียมนาซาพบ “ทีโอไอ 700 อี” ดาวเคราะห์ “เท่าโลก” คาดว่าเต็มไปด้วยหิน (คลิป)
  • ตื่นตาภาพ “ดวงอาทิตย์” รูปแรกจากดาวเทียมควาฟู่ 1 เห็นชัดๆ “เปลวสุริยะ” ปะทุ

แท็กที่เกี่ยวข้อง

เรื่องอื่นที่น่าสนใจ